2. ตอบ ผิด เพราะการที่จะใช้ข้อมูลของผู้อื่นต้องมีการระบุถึงบุคคลผู้ที่เป็นเจ้าของด้วย และอิกอย่างข้อมูลที่ไม่ได้ระบุที่มา ถือว่าเป็นสารสนเทสที่ไม่สมประกอบไม่มี หลักฐานอ้างอิงในการใช้งาน ไม่สมควรนำข้อมูลนี้ไปใช้ ดดยเฉพาะใช้เป็นความรู้ในการทำรายงาน หรือเรื่องต่างๆ ที่ใช้เผยแพร่
วันเสาร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2556
แบบฝึกหัดบทที่8
1. ตอบ การกระทำอย่างนี้ผิดจริยธรรมในด้านละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาติ และสร้างความเสียหายให้บุคคลหลาคน ที่ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาของบุคคลที่ทำผิดจริยธรรม สร้างความวุ่นวายแก่ผู้อื่น ก่อนใช้โปรแกรมควรมีการบอกและขอในการใช้งาน
2. ตอบ ผิด เพราะการที่จะใช้ข้อมูลของผู้อื่นต้องมีการระบุถึงบุคคลผู้ที่เป็นเจ้าของด้วย และอิกอย่างข้อมูลที่ไม่ได้ระบุที่มา ถือว่าเป็นสารสนเทสที่ไม่สมประกอบไม่มี หลักฐานอ้างอิงในการใช้งาน ไม่สมควรนำข้อมูลนี้ไปใช้ ดดยเฉพาะใช้เป็นความรู้ในการทำรายงาน หรือเรื่องต่างๆ ที่ใช้เผยแพร่
2. ตอบ ผิด เพราะการที่จะใช้ข้อมูลของผู้อื่นต้องมีการระบุถึงบุคคลผู้ที่เป็นเจ้าของด้วย และอิกอย่างข้อมูลที่ไม่ได้ระบุที่มา ถือว่าเป็นสารสนเทสที่ไม่สมประกอบไม่มี หลักฐานอ้างอิงในการใช้งาน ไม่สมควรนำข้อมูลนี้ไปใช้ ดดยเฉพาะใช้เป็นความรู้ในการทำรายงาน หรือเรื่องต่างๆ ที่ใช้เผยแพร่
แบบฝึกหัดบทที่7
1. หน้าที่ของไฟร์วอลล์ (Fire-well) คือ เป็นระบบรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์แบบหนึ่งที่
นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีทั้งอุปกรณ์ Hardware และ Software โดยหน้าที่หลัก ๆ ของ Firewall นั้น
จะทำหน้าที่ควบคุมการใช้งาน
ระหว่าง Network ต่าง ๆ
2.จงอธิบายคำศัทพ์ต่อไปนี้ ที่เกี่ยวข้องกับไวรัสคอมพิวเตอร์ worm,virus computer,spy ware,adware
2.จงอธิบายคำศัทพ์ต่อไปนี้ ที่เกี่ยวข้องกับไวรัสคอมพิวเตอร์ worm,virus computer,spy ware,adware
มาอย่างน้อย 1 โปรแกรม
ตอบ Worm เป็นไวรัสประเภทหนึ่งที่ก่อกวน สามารถทำสำเนาตัวเอง (copy) และแพร่กระจายไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
ตอบ Worm เป็นไวรัสประเภทหนึ่งที่ก่อกวน สามารถทำสำเนาตัวเอง (copy) และแพร่กระจายไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องอื่นๆ ได้ ทำให้คอมพิวเตอร์ส่วนตัว และในระบบเครือข่ายเสียหายไวรัส วอร์ม นี้ปัจจุบันมีหลากหลายมาก มีการแพร่
กระจายของไวรัสได้รวดเร็วมาก ทั้งนี้เนื่องจากไวรัส วอร์ม จะสามารถแพร่กระจายผ่านทางอีเมล์ได้ ไม่ว่าจะเป็น
Outlook Express หรือ Microsoft Outlook
3.ไวรัสคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง
ตอบ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ Application viruses และ System viruses
4..ให้นิสิตอธิบายแนวทางในการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1.สร้างแผ่นบูต emergency disk เพื่อใช้ช่วยในการกู้ระบบ การสร้างแผ่น emergency disk
นำกลับมาเปิดที่เครื่อง จะมั่นใจได้อย่างไรว่าแผ่นนั้นไม่มีไวรัสอยู่ ดังนั้นควรจะตรวจหาไวรัสใน
แผ่นก่อนที่จะเปิดอ่านข้อมูลที่ถูกบรรจุในแผ่นดิสก์ดังกล่าว
5.ทำการตรวจหาไวรัสทุกสัปดาห์ ในแต่ละสัปดาห์แน่นอนว่ามีไฟล์ที่ผ่านเข้าออกเครื่องมาก
มายไม่ว่าจะเป็น อี-เมล์ที่ได้รับ ไฟล์ที่ดาวน์โหลดมาจากอินเทอร์เน็ต ตลอดจนไฟล์ชั่วคราวของ
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ที่เก็บในแต่ละครั้งที่เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ แล้วจะแน่ใจได้อย่างไรว่าไฟล์เหล่า
นั้นไม่มีไวรัสแฝงตัวมา ดังนั้นจึงควรที่จะทำการตรวจหาไวรัส โดยการสแกนหาทั้งระบบ อาจจะเป็น
ทุกเย็นของวันศุกร์ก่อนกลับบ้านก็เป็นได้
5.มาตรการด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการใช้อินเทอเน็ตที่เหมาะสมกับสังคม
ปัจจุบันได้แก่
ตอบ 1. กฏหมายคุ้มครองข้องมูลส่วนบุคคล
2. กฏหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
3. กฏหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
4. กฏหมายการแลกเปลี่ยนข้อมูงทางอิเล็กทอนิกส์
5. กฏหมายลายมือชื่ออิเล็กทอนิกส์
6. กฏหมายการโอนเงินทางอิเล็กทอนิกส์
7. กฏหมายโทลคมนาคม
8. กฏหมายระหว่างประเทศ
9. กฏหมายืั้เกี่ยวเนื่องกับระบบอินเตอร์เน็ต
10. กฏหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทอนิกส์และคอมพิวเตอร์
3.ไวรัสคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง
ตอบ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ Application viruses และ System viruses
4..ให้นิสิตอธิบายแนวทางในการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1.สร้างแผ่นบูต emergency disk เพื่อใช้ช่วยในการกู้ระบบ การสร้างแผ่น emergency disk
หรือบางครั้งอาจเรียกว่า Rescure disk นั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ถ้าเครื่องติดไวรัสที่ไม่สามารถ
จะกำจัดได้โดยผ่านระบบปฏิบัติการวินโดวส์ หรือผลกระทบของไวรัสที่ทำให้เครื่องไม่สามารถบูต
ได้ตามปกติเราก็สามารถใช้แผ่น emergency diskมาช่วยในการกู้ข้อมูลและกำจัดไวรัสออกจนทำ
ให้บูตเครื่องได้ตามปกติ
จะกำจัดได้โดยผ่านระบบปฏิบัติการวินโดวส์ หรือผลกระทบของไวรัสที่ทำให้เครื่องไม่สามารถบูต
ได้ตามปกติเราก็สามารถใช้แผ่น emergency diskมาช่วยในการกู้ข้อมูลและกำจัดไวรัสออกจนทำ
ให้บูตเครื่องได้ตามปกติ
2.ปรับปรุงฐานข้อมูลไวรัสทุกวันหรืออย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง ขั้นตอนนี้เปรียบเสมือนหัวใจ
ของการใช้งานโปรแกรมป้องกันไวรัส เนื่องจากไวรัสคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนาออกมาใหม่ทุกวัน
ดังนั้นจึงควรที่จะสอนโปรแกรมป้องกันไวรัสให้รู้จักไวรัสชนิดใหม่ๆด้วย โดยการปรับปรุงฐานข้อมูล
ไวรัสที่ใช้งานนั่นเอง
ของการใช้งานโปรแกรมป้องกันไวรัส เนื่องจากไวรัสคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนาออกมาใหม่ทุกวัน
ดังนั้นจึงควรที่จะสอนโปรแกรมป้องกันไวรัสให้รู้จักไวรัสชนิดใหม่ๆด้วย โดยการปรับปรุงฐานข้อมูล
ไวรัสที่ใช้งานนั่นเอง
3.เปิดใช้งาน auto - protect โดยส่วนใหญ่โปรแกรมป้องกันไวรัสที่ติดตั้งจะทำการสร้าง
โพรเซสที่จะตรวจหาไวรัสตลอดเวลา เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสสามารถถูกเอ็กซิคิวต์ในเครื่องได้
4.ก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นที่นำมาใช้จากที่อื่นให้สแกนหาไวรัสก่อน แผ่นดิสก์ที่นำไปใช้ที่อื่นแล้วโพรเซสที่จะตรวจหาไวรัสตลอดเวลา เพื่อป้องกันไม่ให้ไวรัสสามารถถูกเอ็กซิคิวต์ในเครื่องได้
นำกลับมาเปิดที่เครื่อง จะมั่นใจได้อย่างไรว่าแผ่นนั้นไม่มีไวรัสอยู่ ดังนั้นควรจะตรวจหาไวรัสใน
แผ่นก่อนที่จะเปิดอ่านข้อมูลที่ถูกบรรจุในแผ่นดิสก์ดังกล่าว
5.ทำการตรวจหาไวรัสทุกสัปดาห์ ในแต่ละสัปดาห์แน่นอนว่ามีไฟล์ที่ผ่านเข้าออกเครื่องมาก
มายไม่ว่าจะเป็น อี-เมล์ที่ได้รับ ไฟล์ที่ดาวน์โหลดมาจากอินเทอร์เน็ต ตลอดจนไฟล์ชั่วคราวของ
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ที่เก็บในแต่ละครั้งที่เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ แล้วจะแน่ใจได้อย่างไรว่าไฟล์เหล่า
นั้นไม่มีไวรัสแฝงตัวมา ดังนั้นจึงควรที่จะทำการตรวจหาไวรัส โดยการสแกนหาทั้งระบบ อาจจะเป็น
ทุกเย็นของวันศุกร์ก่อนกลับบ้านก็เป็นได้
5.มาตรการด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการใช้อินเทอเน็ตที่เหมาะสมกับสังคม
ปัจจุบันได้แก่
ตอบ 1. กฏหมายคุ้มครองข้องมูลส่วนบุคคล
2. กฏหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
3. กฏหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
4. กฏหมายการแลกเปลี่ยนข้อมูงทางอิเล็กทอนิกส์
5. กฏหมายลายมือชื่ออิเล็กทอนิกส์
6. กฏหมายการโอนเงินทางอิเล็กทอนิกส์
7. กฏหมายโทลคมนาคม
8. กฏหมายระหว่างประเทศ
9. กฏหมายืั้เกี่ยวเนื่องกับระบบอินเตอร์เน็ต
10. กฏหมายพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอิเล็กทอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แบบฝึกหัดบทที่6
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว1. การประยุคต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นความหมายของข้อใด?ตอบ 1.เทคโนโลยีสารสนเทศ2. เทคโนโลยีสารสนเทศใดก่อให้เกิดผลด้านการเสริมสร้างความเท่าเทียมกันในสังคม?ตอบ 2.ระบบการเรียนการสอนทางไกล3. การฝากถอนเงินผ่านเอทีเอ็ม(ATM) เป็นลักษณะเด่นของเทคโนโลยีข้อใด้?ตอบ 1.ระบบอัตโนมัติ4.ข้อใดคือการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ?ตอบ 4.ถูกทุกข้อ5.เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงข้อใด?ตอบ 4.การนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล6.เครื่องมือที่สำคัญในการจัดการสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?ตอบ 4.ถูกทุข้อ7. ข้อใดไม่ใช้บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ?ตอบ 4.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้มีการสร้างที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ8.ข้อใดไม่ใช้อุปกรณ์ที่ช่วยงานด้านสารสนเทศ?ตอบ 1.เครื่องถ่ายเอกสาร9.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ?ตอบ 3.ไม่เกียวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์10.ข้อใดคือประโยชน์ที่ได้จากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการเรียนตอบ 4.ถูกทุกข้อ
แบบฝึกหัดบทที่5
แบบฝึกหัดบทที่5
1.จงอธิบายความหมายของการจัดการสารสนเทศ
1.จงอธิบายความหมายของการจัดการสารสนเทศ
-การจัดการสารสนเทศ หมายถึง การทำกิจกรรมหลักต่างๆ ในการจัดหาการจัดโครงสร้าง(Organization)การควบคุม ผลิต การเผยแพร่และการใช้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์การทุกประเภทอย่างมีประสิทธิผล
-การจัดการสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการดำเนินงาน เช่น ทำดรรชนี การจัดหมวดหมู่ การจัดแฟ้มการทำรายการเพื่อการเข้าถึงเอกสารหรือสารสนเทศที่มีการบันทึกไว้ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่จดหมายเหตุ(archive) เชิงประวัติ ถึงข้อมูลดิจิทัล (Middleton, 2002, p.13)-การจัดการสารสนเทศ หมายถึง การดำเนินการกับสารสนเทศในระดับองค์การ ได้แก่ การวางแผน การ จัดสรรงบประมาณ การจัดโครงสร้างองค์การ การจัดเจ้าหน้าที่ การกำหนดทิศทาง การฝึกอบรม และการควบคุมสารสนเทศ (Bent, 1999 อ้างใน Myburgh, 2000, p.10)
-กล่าวโดยสรุป การจัดการสารสนเทศ ความหมายถึง การผลิต จัดเก็บ ประมวลผล ค้นหา และเผยแพร่ สารสนเทศโดยจัดให้มีระบบสารสนเทศ การกระจายของสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยมีการนำเทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้ในการจัดการ รวมทั้งมีนโยบาย หรือ กลยุทธ์ระดับองค์การในการจัดการสารสนเทศ2.การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อบุคคลและต่อองค์การอย่างไร
-การ จัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อบบุคคลคือบุคคลย่อมต้องการสารสนเทศหลายด้าน เพื่อการใช้ชีวิตอย่างราบรื่น มีความก้าวหน้าและมีความสุข เช่น ต้องการสารสนเทศเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ
การ จัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อองค์กรคือ ความสำคัญด้านการบริหารจัดการในยุคโลกาภิวัฒน์เป็นการบริหารภายใต้สภาวะที่ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีการแข่งขันทางธุรกิจสูง ผู้บริหารต้องการสารสนเทศที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อวิเคราะห์ปัญหาต่างๆของคู่แข่ง
3.พัฒนาการของการจัดการสารสนเทศแย่งออกเป็นกี่ยุค อะไรบ้าง
-พัฒนาการสารสนเทศแบ่งออกเป็น2ยุค ได้แก่ การจัดการสรสนเทศด้วยระบบมือ การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพิวเตอร์
4.จงยกตัวอย่างการจัดการสารสนเทศที่นิสิตใช้ในชีวิตประจำวันมาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง
-หนังสือพิมพ์ คอมพิวเตอร์ หนังสือนิตยสาร
วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556
วันขึ้นปีใหม่
วันขึ้นปีใหม่
ความหมายของวันขึ้นปีใหม่
ตามความหมายในพจนานุกรมให้ความหมายคำว่า "ปี" หมายถึง เวลาชั่วโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครั้งหนึ่งราว 365 วัน หรือ เวลา 12 เดือนตามสุริยคติ ดังนั้น "ปีใหม่" จึงหมายถึง การขึ้นรอบใหม่หลังจาก 12 เดือน หรือ 1 ปี
ความเป็นมาของ วันขึ้นปีใหม่
วันขึ้นปีใหม่ มีประวัติความเป็นมาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยตามความเหมาะสม ตั้งแต่ในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนีย เริ่มคิดค้นการใช้ปฏิทินโดยอาศัยระยะต่าง ๆ ของดวงจันทร์เป็นหลักในการนับ เมื่อครบ 12 เดือน ก็กำหนดว่าเป็น 1 ปี และเพื่อให้เกิดความพอดีระหว่างการนับปีตามปฏิทินกับปีตามฤดูกาล จึงได้เพิ่มเดือนเข้าไปอีก 1 เดือน เป็น 13 เดือนในทุก ๆ 4 ปี
ต่อมาชาวอียิปต์ กรีก และชาวเซมิติค ได้นำการปฏิบัติของชาวบาบิโลเนียมาดัดแปลงแก้ไขอีกหลายคราวเพื่อให้ตรงกับฤดูกาลมากยิ่งขึ้น จนถึงสมัยของกษัตริย์จูเลียต ซีซาร์ (ประมาณ 46 ปี ก่อนคริสต์ศักราช) ได้นำความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อโยซิเยนิส มาปรับปรุงให้หนึ่งปีมี 365 วัน โดยทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28 วัน เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน เป็น 29 วัน คือเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า อธิกสุรทิน เมื่อเพิ่มให้เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน ให้ทุกๆ 4 ปี แต่วันในปฏิทินก็ยังไม่ค่อยตรงกับฤดูกาลนัก คือเวลาในปฏิทินยาวกว่าปีตามฤดูกาล เป็นเหตุให้ฤดูกาลมาถึงก่อนวันในปฏิทิน
และในวันที่ 21 มีนาคม ตามปีปฏิทินของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่มีเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน คือเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงทิศตะวันออก และลับลงตามทิศตะวันตก วันนี้ทั่วโลกจึงมีช่วงเวลาเท่ากับ 12 ชั่วโมงเท่ากัน เรียกว่า วันทิวาราตรีเสมอภาคมีนาคม (Equinox in March)
แต่ในปี พ.ศ. 2125 วัน Equinox in March กลับไปเกิดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 21 มีนาคม ดังนั้นพระสันตะปาปาเกรกอรี่ที่ 13 จึงทำการปรับปรุงแก้ไขหักวันออกไป 10 วัน จากปีปฏิทิน และให้วันหลังจากวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125 แทนที่จะเป็นวันที่ 5 ตุลาคม ก็ให้เปลี่ยนเป็นวันที่ 15 ตุลาคมแทน (ใช้เฉพาะในปี พ.ศ. 2125) ปฏิทินแบบใหม่นี้จึงเรียกว่าปฏิทินเกรกอเรี่ยน จากนั้นได้ปรับปรุงประกาศใช้ วันที่ 1 มกราคม เป็นวันเริ่มต้นของปีเป็นต้นมา
ความเป็นมาวันปีใหม่ในประเทศไทย
สำหรับวันปีใหม่ในประเทศไทยนั้น แต่เดิมเราถือเอาวันแรม 1 ค่ำเดือนอ้าย ซึ่งตรงกับเดือนมกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับคติแห่งพระพุทธศาสนา ที่ถือช่วงเหมันต์หรือหน้าหนาวเป็นการเริ่มต้นปี ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ คือถือเอาวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 เป็นวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งตรงกับวันสงกรานต์ ดังนั้นในสมัยโบราณเราจึงถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย
แต่การนับวันปีใหม่หรือวันสงกรานต์ตามวันทางจันทรคติ เมื่อเทียบกับวันทางสุริยคติ ย่อมคลาดเคลื่อนกันไปในแต่ละปี ดังนั้นในวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปี พ.ศ.2432 (ร.ศ.108) ซึ่งตรงกับวันที่ 1 เมษายน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงให้ถือเอาวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทยนับแต่นั้นมา เพื่อวันปีใหม่จะได้ตรงกันทุกปีเมื่อนับทางสุริยคติ (แม้ว่าวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีต่อๆ มาจะไม่ตรงกับวันที่ 1 เมษายน แล้วก็ตาม) ดังนั้นจึงถือเอาเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปีนับแต่นั้นมา อย่างไรก็ดีประชาชนส่วนใหญ่โดยเฉพาะตามชนบทยังคงยึดถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่อยู่
ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทางราชการจึงเห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน มักจะไม่มีงานรื่นเริงอะไรมากนักและเห็นสมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้นในกรุงเทพฯ เป็นครั้งแรก จนแพร่หลายออกไปต่างจังหวัดในปีต่อ ๆ มา โดยในปี พ.ศ. 2479 ก็ได้มีการจัดงานปีใหม่ทั่วทุกจังหวัด มีชื่อทางราชการ"วันตรุษสงกรานต์"
เหตุผลเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จาก 1 เมษายน เป็น 1 มกราคม ต่อมาก็ได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาโดยมี หลวงวิจิตรวาทการ เป็นประธานคณะกรรมการ และที่ประชุมก็ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2484 ในวันที่ 24 ธันวาคม ในสมัยคณะรัฐบาลของ จอมพล ป. พิบูลสงครามโดยเหตุผลสำคัญก็คือ
เป็นการไม่ขัดกับหลักพุทธศาสนาในด้านการนับวัน เดือน และการร่วมฉลองปีใหม่ด้วยการทำบุญ
เป็นการเลิกวิธีนำเอาลัทธิพราหมณ์มาคร่อมศาสนาพุทธ
ทำให้เข้าสู่ระดับสากลที่ใช้อยู่ในประเทศทั่วโลก
เป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรม คตินิยม และจารีตประเพณีของชาติไทย
ตั้งแต่นั้นมา วันขึ้นปีใหม่ของไทยจึงตรงกับวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เหมือนดังเช่นวันขึ้นปีใหม่ของประเทศอื่นๆ ทั่วโลก
เพลงวันปีใหม่ แน่นอนว่า เพลงที่มักจะได้ยินบ่อย ๆ ในช่วงวันขึ้นปีใหม่ ก็คือ "เพลงพรปีใหม่" ซึ่งเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 13 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.2494 เมื่อครั้งเสด็จนิวัตพระนครและประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต โดยมีพระราชประสงค์ให้เพลงนี้ เป็นพรปีใหม่ที่พระราชทานแก่พสกนิกรทุกหมู่เหล่า
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องเป็นคำอำนวยพรปีใหม่ แล้วพระราชทานแก่วงดนตรี 2 วง คือ วงดนตรีนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำออกบรรเลง ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวงดนตรีสุนทราภรณ์ นำออกบรรเลง ณ ศาลาเฉลิมไทยเป็นครั้งแรกในวันปีใหม่ วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2495 โดยเพลงพรปีใหม่ มีเนื้อร้องดังนี้
เพลงวันปีใหม่ (เพลงพรปีใหม่ เพลงพระราชนิพนธ์ในหลวง)
ทำนอง: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช
คำร้อง: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
สวัสดีวันปีใหม่พา ให้บรรดาเราท่านรื่นรมย์
ฤกษ์ยามดีเปรมปรีดิ์ชื่นชม ต่างสุขสมนิยมยินดี
ข้าวิงวอนขอพรจากฟ้า ให้บรรดาปวงท่านสุขศรี
โปรดประทานพรโดยปรานี ให้ชาวไทยล้วนมีโชคชัย
ให้บรรดาปวงท่านสุขสันต์ ทุกวันทุกคืนชื่นชมให้สมฤทัย
ให้รุ่งเรืองในวันปีใหม่ ผองชาวไทยจงสวัสดี
ตลอดปีจงมีสุขใจ ตลอดไปนับแต่บัดนี้
ให้สิ้นทุกข์สุขเกษมเปรมปรีดิ์ สวัสดีวันปีใหม่เทอญ
ประวัติการส่ง ส.ค.ส.ในวันปีใหม่
การส่ง ส.ค.ส หรือบัตรอวยพรนั้น ประเทศไทยรับวัฒนธรรมมาจากต่างประเทศ ซึ่งนิยมส่งบัตรอวยพรกันมาเป็นเวลากว่า 200 ปีแล้ว ตั้งแต่ราวศตวรรษที่ 18 หรือตรงกับปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา บัตรอวยพรนี้ปรากฎในรูปแบบ "บัตรเยี่ยม" (Visiting Card) เป็นบัตรกระดาษขนาดเท่าไพ่ นิยมเขียนข้อความ หรือพิมพ์รูปภาพต่าง ๆ ลงไปเพื่อเยี่ยมเยียนกันในวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาแพร่หลายไปในเทศกาลต่าง ๆ เช่น วาเลนไทน์ คริสต์มาส มีการส่งพิมพ์และส่งบัตรอวยพรกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น
สำหรับในประเทศไทยนั้น เชื่อกันว่าบัตรอวยพรปีใหม่ที่เก่าแก่ที่สุด คือ บัตรอวยพรที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประดิษฐ์ขึ้น เมื่อ 120 กว่าปีก่อน โดยในรัชสมัยของพระองค์ เป็นยุคที่มีการติดต่อสื่อสารกับต่างประเทศเป็นจำนวนมาก จึงมีการรับเอาขนบธรรมเนียมของตะวันตกมาด้วย
ทั้งนี้การส่งบัตรอวยพรของพระองค์นั้น ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าเริ่มต้นตั้งแต่เมื่อใด แต่ได้ปรากฎสำเนาคำพระราชทานพรขึ้นปีใหม่ ในปี พ.ศ.2409 ของพระองค์ ในหนังสือพิมพ์บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (ภาษาอังกฤษ) ฉบับวันที่ 13 มกราคม 2409 แปลได้ใจความว่า "ทรงขอส่งบัตรตีพิมพ์คำอวยพรนี้ถึงบรรดากงสุล เจ้าหน้าที่กงสุลต่าง ๆ และชาวต่างประเทศที่ทรงคุ้นเคยโดยทั่วถึงกัน"
ต่อมาในช่วงต้นรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 ความนิยมการส่งบัตรอวยพรแพร่หลายอย่างมาก มีหลักฐานบัตรอวยพรประเภทต่างๆ ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติเป็นจำนวนมาก โดยมักนิยมส่งกันในช่วงเดือนเมษายน ตามวันขึ้นปีใหม่เดิมที่ตรงกับวันที่ 1 เมษายน และบนบัตรอวยพรเหล่านั้น ยังพบคำว่า "ส.ค.ศ" หรือ "ส.ค.ส" ปรากฎอยู่ จึงเชื่อกันว่า คำว่า "ส.ค.ส" เกิดขึ้นในรัชสมัยนี้ โดยย่อมาจากคำว่า "ส่งความศุข" หรือ "ส่งความสุข"
หลังจากนั้น ส.ค.ส ก็เป็นสิ่งที่นิยมส่งให้กันในวันขึ้นปีใหม่ จนถึงปัจจุบันนี้ และ ส.ค.ส. ก็ได้เปลี่ยนรูปแบบไปมีการนำวัสดุต่าง ๆ มาประดิษฐ์ ตกแต่ง มีรูปแบบ ลวดลายหลากหลายมากขึ้น
วันขึ้นปีใหม่ มีประวัติความเป็นมาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยตามความเหมาะสม ตั้งแต่ในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนีย เริ่มคิดค้นการใช้ปฏิทินโดยอาศัยระยะต่าง ๆ ของดวงจันทร์เป็นหลักในการนับ เมื่อครบ 12 เดือน ก็กำหนดว่าเป็น 1 ปี และเพื่อให้เกิดความพอดีระหว่างการนับปีตามปฏิทินกับปีตามฤดูกาล จึงได้เพิ่มเดือนเข้าไปอีก 1 เดือน เป็น 13 เดือนในทุก ๆ 4 ปี
ต่อมาชาวอียิปต์ กรีก และชาวเซมิติค ได้นำการปฏิบัติของชาวบาบิโลเนียมาดัดแปลงแก้ไขอีกหลายคราวเพื่อให้ตรงกับฤดูกาลมากยิ่งขึ้น จนถึงสมัยของกษัตริย์จูเลียต ซีซาร์ (ประมาณ 46 ปี ก่อนคริสต์ศักราช) ได้นำความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อโยซิเยนิส มาปรับปรุงให้หนึ่งปีมี 365 วัน โดยทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28 วัน เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน เป็น 29 วัน คือเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า อธิกสุรทิน เมื่อเพิ่มให้เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน ให้ทุกๆ 4 ปี แต่วันในปฏิทินก็ยังไม่ค่อยตรงกับฤดูกาลนัก คือเวลาในปฏิทินยาวกว่าปีตามฤดูกาล เป็นเหตุให้ฤดูกาลมาถึงก่อนวันในปฏิทิน
และในวันที่ 21 มีนาคม ตามปีปฏิทินของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่มีเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน คือเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงทิศตะวันออก และลับลงตามทิศตะวันตก วันนี้ทั่วโลกจึงมีช่วงเวลาเท่ากับ 12 ชั่วโมงเท่ากัน เรียกว่า วันทิวาราตรีเสมอภาคมีนาคม (Equinox in March)
แต่ในปี พ.ศ. 2125 วัน Equinox in March กลับไปเกิดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 21 มีนาคม ดังนั้นพระสันตะปาปาเกรกอรี่ที่ 13 จึงทำการปรับปรุงแก้ไขหักวันออกไป 10 วัน จากปีปฏิทิน และให้วันหลังจากวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125 แทนที่จะเป็นวันที่ 5 ตุลาคม ก็ให้เปลี่ยนเป็นวันที่ 15 ตุลาคมแทน (ใช้เฉพาะในปี พ.ศ. 2125) ปฏิทินแบบใหม่นี้จึงเรียกว่าปฏิทินเกรกอเรี่ยน จากนั้นได้ปรับปรุงประกาศใช้ วันที่ 1 มกราคม เป็นวันเริ่มต้นของปีเป็นต้นมา
ความเป็นมาวันปีใหม่ในประเทศไทย
สำหรับวันปีใหม่ในประเทศไทยนั้น แต่เดิมเราถือเอาวันแรม 1 ค่ำเดือนอ้าย ซึ่งตรงกับเดือนมกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับคติแห่งพระพุทธศาสนา ที่ถือช่วงเหมันต์หรือหน้าหนาวเป็นการเริ่มต้นปี ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ คือถือเอาวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 เป็นวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งตรงกับวันสงกรานต์ ดังนั้นในสมัยโบราณเราจึงถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย
แต่การนับวันปีใหม่หรือวันสงกรานต์ตามวันทางจันทรคติ เมื่อเทียบกับวันทางสุริยคติ ย่อมคลาดเคลื่อนกันไปในแต่ละปี ดังนั้นในวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปี พ.ศ.2432 (ร.ศ.108) ซึ่งตรงกับวันที่ 1 เมษายน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงให้ถือเอาวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทยนับแต่นั้นมา เพื่อวันปีใหม่จะได้ตรงกันทุกปีเมื่อนับทางสุริยคติ (แม้ว่าวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีต่อๆ มาจะไม่ตรงกับวันที่ 1 เมษายน แล้วก็ตาม) ดังนั้นจึงถือเอาเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปีนับแต่นั้นมา อย่างไรก็ดีประชาชนส่วนใหญ่โดยเฉพาะตามชนบทยังคงยึดถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่อยู่
ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทางราชการจึงเห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน มักจะไม่มีงานรื่นเริงอะไรมากนักและเห็นสมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้นในกรุงเทพฯ เป็นครั้งแรก จนแพร่หลายออกไปต่างจังหวัดในปีต่อ ๆ มา โดยในปี พ.ศ. 2479 ก็ได้มีการจัดงานปีใหม่ทั่วทุกจังหวัด มีชื่อทางราชการ"วันตรุษสงกรานต์"
เหตุผลเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จาก 1 เมษายน เป็น 1 มกราคม ต่อมาก็ได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาโดยมี หลวงวิจิตรวาทการ เป็นประธานคณะกรรมการ และที่ประชุมก็ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2484 ในวันที่ 24 ธันวาคม ในสมัยคณะรัฐบาลของ จอมพล ป. พิบูลสงครามโดยเหตุผลสำคัญก็คือ
เป็นการไม่ขัดกับหลักพุทธศาสนาในด้านการนับวัน เดือน และการร่วมฉลองปีใหม่ด้วยการทำบุญ
เป็นการเลิกวิธีนำเอาลัทธิพราหมณ์มาคร่อมศาสนาพุทธ
ทำให้เข้าสู่ระดับสากลที่ใช้อยู่ในประเทศทั่วโลก
เป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรม คตินิยม และจารีตประเพณีของชาติไทย
ตั้งแต่นั้นมา วันขึ้นปีใหม่ของไทยจึงตรงกับวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เหมือนดังเช่นวันขึ้นปีใหม่ของประเทศอื่นๆ ทั่วโลก
เพลงวันปีใหม่ แน่นอนว่า เพลงที่มักจะได้ยินบ่อย ๆ ในช่วงวันขึ้นปีใหม่ ก็คือ "เพลงพรปีใหม่" ซึ่งเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 13 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ.2494 เมื่อครั้งเสด็จนิวัตพระนครและประทับ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต โดยมีพระราชประสงค์ให้เพลงนี้ เป็นพรปีใหม่ที่พระราชทานแก่พสกนิกรทุกหมู่เหล่า
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องเป็นคำอำนวยพรปีใหม่ แล้วพระราชทานแก่วงดนตรี 2 วง คือ วงดนตรีนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำออกบรรเลง ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวงดนตรีสุนทราภรณ์ นำออกบรรเลง ณ ศาลาเฉลิมไทยเป็นครั้งแรกในวันปีใหม่ วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2495 โดยเพลงพรปีใหม่ มีเนื้อร้องดังนี้
เพลงวันปีใหม่ (เพลงพรปีใหม่ เพลงพระราชนิพนธ์ในหลวง)
ทำนอง: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช
คำร้อง: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
สวัสดีวันปีใหม่พา ให้บรรดาเราท่านรื่นรมย์
ฤกษ์ยามดีเปรมปรีดิ์ชื่นชม ต่างสุขสมนิยมยินดี
ข้าวิงวอนขอพรจากฟ้า ให้บรรดาปวงท่านสุขศรี
โปรดประทานพรโดยปรานี ให้ชาวไทยล้วนมีโชคชัย
ให้บรรดาปวงท่านสุขสันต์ ทุกวันทุกคืนชื่นชมให้สมฤทัย
ให้รุ่งเรืองในวันปีใหม่ ผองชาวไทยจงสวัสดี
ตลอดปีจงมีสุขใจ ตลอดไปนับแต่บัดนี้
ให้สิ้นทุกข์สุขเกษมเปรมปรีดิ์ สวัสดีวันปีใหม่เทอญ
ประวัติการส่ง ส.ค.ส.ในวันปีใหม่
การส่ง ส.ค.ส หรือบัตรอวยพรนั้น ประเทศไทยรับวัฒนธรรมมาจากต่างประเทศ ซึ่งนิยมส่งบัตรอวยพรกันมาเป็นเวลากว่า 200 ปีแล้ว ตั้งแต่ราวศตวรรษที่ 18 หรือตรงกับปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา บัตรอวยพรนี้ปรากฎในรูปแบบ "บัตรเยี่ยม" (Visiting Card) เป็นบัตรกระดาษขนาดเท่าไพ่ นิยมเขียนข้อความ หรือพิมพ์รูปภาพต่าง ๆ ลงไปเพื่อเยี่ยมเยียนกันในวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาแพร่หลายไปในเทศกาลต่าง ๆ เช่น วาเลนไทน์ คริสต์มาส มีการส่งพิมพ์และส่งบัตรอวยพรกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น
สำหรับในประเทศไทยนั้น เชื่อกันว่าบัตรอวยพรปีใหม่ที่เก่าแก่ที่สุด คือ บัตรอวยพรที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประดิษฐ์ขึ้น เมื่อ 120 กว่าปีก่อน โดยในรัชสมัยของพระองค์ เป็นยุคที่มีการติดต่อสื่อสารกับต่างประเทศเป็นจำนวนมาก จึงมีการรับเอาขนบธรรมเนียมของตะวันตกมาด้วย
ทั้งนี้การส่งบัตรอวยพรของพระองค์นั้น ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าเริ่มต้นตั้งแต่เมื่อใด แต่ได้ปรากฎสำเนาคำพระราชทานพรขึ้นปีใหม่ ในปี พ.ศ.2409 ของพระองค์ ในหนังสือพิมพ์บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (ภาษาอังกฤษ) ฉบับวันที่ 13 มกราคม 2409 แปลได้ใจความว่า "ทรงขอส่งบัตรตีพิมพ์คำอวยพรนี้ถึงบรรดากงสุล เจ้าหน้าที่กงสุลต่าง ๆ และชาวต่างประเทศที่ทรงคุ้นเคยโดยทั่วถึงกัน"
ต่อมาในช่วงต้นรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 ความนิยมการส่งบัตรอวยพรแพร่หลายอย่างมาก มีหลักฐานบัตรอวยพรประเภทต่างๆ ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติเป็นจำนวนมาก โดยมักนิยมส่งกันในช่วงเดือนเมษายน ตามวันขึ้นปีใหม่เดิมที่ตรงกับวันที่ 1 เมษายน และบนบัตรอวยพรเหล่านั้น ยังพบคำว่า "ส.ค.ศ" หรือ "ส.ค.ส" ปรากฎอยู่ จึงเชื่อกันว่า คำว่า "ส.ค.ส" เกิดขึ้นในรัชสมัยนี้ โดยย่อมาจากคำว่า "ส่งความศุข" หรือ "ส่งความสุข"
หลังจากนั้น ส.ค.ส ก็เป็นสิ่งที่นิยมส่งให้กันในวันขึ้นปีใหม่ จนถึงปัจจุบันนี้ และ ส.ค.ส. ก็ได้เปลี่ยนรูปแบบไปมีการนำวัสดุต่าง ๆ มาประดิษฐ์ ตกแต่ง มีรูปแบบ ลวดลายหลากหลายมากขึ้น
วันลอยกระทง
วันลอยกระทง
วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12
ประวัติวันลอยกระทงและประเพณีลอยกระทงการลอยกระทงมีวัตถุประสงค์ด้วยกัน 2 ประการ คือ
1. เพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า บางท้องที่ถือว่าลอยกระทงเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเนื่องในโอกาสที่พระพุทธองค์ได้ไปแสดงธรรมในนาคภิภพ และทรงประทับรอยพระบาทไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมมทานที (1) เพราะฉะนั้นการที่บ้านเรามีประเพณีลอยกระทง ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสองก็เพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเนื่องในโอกาสนี้ ส่วนทางเหนือนั้นมีประเพณียี่เป็ง มีทั้งลอยกระทงและลอยโคมขึ้นไปบนท้องฟ้าเพื่อบูชาพระเขี้ยวแก้วของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งบรรจุอยู่ในจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เราจึงจุดประทีป ลอยโคม ส่งใจขึ้นไปบูชาพระเขี้ยวแก้วร่วมกับพระอินทร์ที่นำหมู่เทวดาบูชาพระเขี้ยวแก้วที่จุฬามณีในวันเพ็ญเดือนสิบสองนี้เช่นกัน
ยี่เป็งสันทราย ได้จัดประเพณีลอยกระทง และลอยโคม ซึ่งเป็นภาพวัฒนธรรมไทยที่งดงามมากในสายตาของชาวโลก และยังได้มีการจัดลอยโคมที่มองโกเลีย และอินเดียเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างยิ่งใหญ่มาแล้วด้วย
2. เพื่อบูชาพระแม่คงคา เป็นการแสดงการขอบคุณน้ำ เพราะมนุษย์เราอยู่ได้เพราะน้ำ ตั้งแต่โบราณมาชุมชนทั้งหลายเวลาสร้างเมือง ต่างก็เลือกติดแม่น้ำ ดังนั้นถึงเวลาในรอบ 1 ปี ก็เลือกเอาวันเพ็ญเดือนสิบสอง ระลึกว่าตลอดปีที่ผ่านมา เราได้อาศัยน้ำในการดำรงชีวิต ขณะที่ลอยกระทงเราก็นึกถึงคุณของน้ำ ไม่ใช่ลอยเฉยๆ ต้องรำลึกว่าต้องรู้จักใช้น้ำอย่างถูกวิธี และใช้น้ำอย่างคุ้มค่า ไม่ใช้ทิ้งขว้าง ไม่ทำให้น้ำสกปรก ไม่ปล่อยของเสียลงแม่น้ำ เป็นการขอขมาและขอบคุณพระแม่คงคา ไม่ใช่เป็นการไหว้เทวดาพระแม่คงคาแต่อย่างใด แต่เป็นการแสดงการขอบคุณน้ำ ในฐานะที่เป็นผู้ให้ชีวิตเราความเป็นมาของเทศกาลวันลอยกระทง
คติที่มาเกี่ยวกับวันลอยกระทงมีอยู่หลายตำนาน ดังนี้
1. การลอยกระทง เพื่อขอขมาแก่พระแม่คงคา
2. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้าตามคติพราหมณ์คือบูชาพระนารายณ์ซึ่งบรรทม สินธุ์อยู่ในมหาสมุทร
3. การลอยกระทง เพื่อต้อนรับพระพุทธเจ้า ในวันเสด็จกลับจากเทวโลก เมื่อครั้งเสด็จไป จำพรรษาอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อทรงเทศนาอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดา
4. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระพุทธบาท ของพระพุทธเจ้า ที่หาดทรายริมแม่น้ำนัมมทาน ทีเมื่อคราวเสด็จไปแสดงธรรมโปรดในนาคพิภพ
5. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระจุฬามณีบนสวรรค์ ซึ่งเป็นที่บรรจุพระเกศาของ พระพุทธเจ้า
6. การลอยกระทง เพื่อบูชาท้าวพกาพรหม บนสวรรค์ชั้นพรหมโลก
7. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระอุปคุตตะเถระ ซึ่งบำเพ็ญเพียรบริกรรมคาถาอยู่ในท้อง ทะเลลึกหรือสะดือทะเล
ประวัติวันลอยกระทงในประเทศไทย การลอยกระทงในประเทศไทยมีมาตั้วแต่ครั้งสุโขทัย การลอยกระทงในเมืองไทย มีมาตั้งแต่ครั้งสุโขทัย เรียกว่า การลอยพระประทีป หรือ ลอยโคม เป็นงานนักขัตฤกษ์รื่นเริงของประชาชนทั่วไป ต่อมานางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์สนมเอกของพระร่วง ได้คิดประดิษฐ์ดัดแปลงเป็นรูปกระทงดอกบัวแทนการลอยโคม การลอยกระทงหรือลอยโคมในสมัยนางนพมาศ กระทำเพื่อเป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทที่แม่น้ำนัมมทานทีซึ่งเป็นแม่น้ำสายหนึ่งอยู่ในแค้วนทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปัจจุบันเรียกว่า แม่น้ำเนรพุททา
1. เพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า บางท้องที่ถือว่าลอยกระทงเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเนื่องในโอกาสที่พระพุทธองค์ได้ไปแสดงธรรมในนาคภิภพ และทรงประทับรอยพระบาทไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมมทานที (1) เพราะฉะนั้นการที่บ้านเรามีประเพณีลอยกระทง ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสองก็เพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเนื่องในโอกาสนี้ ส่วนทางเหนือนั้นมีประเพณียี่เป็ง มีทั้งลอยกระทงและลอยโคมขึ้นไปบนท้องฟ้าเพื่อบูชาพระเขี้ยวแก้วของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งบรรจุอยู่ในจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เราจึงจุดประทีป ลอยโคม ส่งใจขึ้นไปบูชาพระเขี้ยวแก้วร่วมกับพระอินทร์ที่นำหมู่เทวดาบูชาพระเขี้ยวแก้วที่จุฬามณีในวันเพ็ญเดือนสิบสองนี้เช่นกัน
ยี่เป็งสันทราย ได้จัดประเพณีลอยกระทง และลอยโคม ซึ่งเป็นภาพวัฒนธรรมไทยที่งดงามมากในสายตาของชาวโลก และยังได้มีการจัดลอยโคมที่มองโกเลีย และอินเดียเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างยิ่งใหญ่มาแล้วด้วย
2. เพื่อบูชาพระแม่คงคา เป็นการแสดงการขอบคุณน้ำ เพราะมนุษย์เราอยู่ได้เพราะน้ำ ตั้งแต่โบราณมาชุมชนทั้งหลายเวลาสร้างเมือง ต่างก็เลือกติดแม่น้ำ ดังนั้นถึงเวลาในรอบ 1 ปี ก็เลือกเอาวันเพ็ญเดือนสิบสอง ระลึกว่าตลอดปีที่ผ่านมา เราได้อาศัยน้ำในการดำรงชีวิต ขณะที่ลอยกระทงเราก็นึกถึงคุณของน้ำ ไม่ใช่ลอยเฉยๆ ต้องรำลึกว่าต้องรู้จักใช้น้ำอย่างถูกวิธี และใช้น้ำอย่างคุ้มค่า ไม่ใช้ทิ้งขว้าง ไม่ทำให้น้ำสกปรก ไม่ปล่อยของเสียลงแม่น้ำ เป็นการขอขมาและขอบคุณพระแม่คงคา ไม่ใช่เป็นการไหว้เทวดาพระแม่คงคาแต่อย่างใด แต่เป็นการแสดงการขอบคุณน้ำ ในฐานะที่เป็นผู้ให้ชีวิตเราความเป็นมาของเทศกาลวันลอยกระทง
1. การลอยกระทง เพื่อขอขมาแก่พระแม่คงคา
2. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้าตามคติพราหมณ์คือบูชาพระนารายณ์ซึ่งบรรทม สินธุ์อยู่ในมหาสมุทร
3. การลอยกระทง เพื่อต้อนรับพระพุทธเจ้า ในวันเสด็จกลับจากเทวโลก เมื่อครั้งเสด็จไป จำพรรษาอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อทรงเทศนาอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดา
4. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระพุทธบาท ของพระพุทธเจ้า ที่หาดทรายริมแม่น้ำนัมมทาน ทีเมื่อคราวเสด็จไปแสดงธรรมโปรดในนาคพิภพ
5. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระจุฬามณีบนสวรรค์ ซึ่งเป็นที่บรรจุพระเกศาของ พระพุทธเจ้า
6. การลอยกระทง เพื่อบูชาท้าวพกาพรหม บนสวรรค์ชั้นพรหมโลก
7. การลอยกระทง เพื่อบูชาพระอุปคุตตะเถระ ซึ่งบำเพ็ญเพียรบริกรรมคาถาอยู่ในท้อง ทะเลลึกหรือสะดือทะเล
ประวัติวันลอยกระทงในประเทศไทย การลอยกระทงในประเทศไทยมีมาตั้วแต่ครั้งสุโขทัย การลอยกระทงในเมืองไทย มีมาตั้งแต่ครั้งสุโขทัย เรียกว่า การลอยพระประทีป หรือ ลอยโคม เป็นงานนักขัตฤกษ์รื่นเริงของประชาชนทั่วไป ต่อมานางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์สนมเอกของพระร่วง ได้คิดประดิษฐ์ดัดแปลงเป็นรูปกระทงดอกบัวแทนการลอยโคม การลอยกระทงหรือลอยโคมในสมัยนางนพมาศ กระทำเพื่อเป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทที่แม่น้ำนัมมทานทีซึ่งเป็นแม่น้ำสายหนึ่งอยู่ในแค้วนทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปัจจุบันเรียกว่า แม่น้ำเนรพุททา
วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
แบบฝึกหัดบทที่4
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ให้นิสิตยกตัวอย่าง
อุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามหัวข้อต่อไปนี้ อย่างน้อยหัวข้อละ 3 ชนิด
1.1
การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล
- แผ่นซีดี
- ฮาร์ดดิสท์
- USB ไดร์ฟ
1.2
การแสดงผล
- จอภาพ คอมพิวเตอร์
- จอโปรเจ็กเตอร์
- เครื่องพิมพ์
1.3
การประมวลผล
- ซอฟต์แวร์
- ฮาร์ดแวร์
- OS
1.4
การสื่อสารและเครือข่าย
- อินเตอร์เน็ต
- การประชุมผ่านทางจอภาพ
- ห้องสมุดอีเล็กทรอนิกส์
2. ให้นิสิต นำตัวเลขในช่องขวา
มาเติมหน้าข้อความในช่องซ้าย ที่มีความสัมพันธ์กัน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
- 8 (โปรแกรมระบบห้องสมุด จัดเป็ฯซอฟต์แวร์ประเภท..)
Information
Technology
- 3 ( เทคโนโลยีต่างๆ ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการเกี่ยวกับ สารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง
และความรวดเร็วในการนำไปใช้)
คอมพิวเตอร์ในยุคประมวลผลข้อมูล
- 1 (ส่วนใหญ่ใช้ทำหน้าที่คำนวณ ประมวลผลข้อมูล)
เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย
-
6 (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
การสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวข้อง)
ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่นต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
-
10 (ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ)
ซอฟต์แวร์ระบบ
- 7 (โปรแกรมที่ทำหน้าที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์)
การนำเสนอบทเรียนในรูปแบบมัลติมีเดีย
ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ตามระดับความสามารถ
-
9 (CAI)
EDI
-
5 (การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย)
การสื่อสารโทรคมนาคม
-
4 (มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน คือ Sender-Medium และ
Decoder
บริการชำระภาษีออนไลน์
-
2 (e-Revenue)
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
แบบฝึกหัดบทที่3
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
1.ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการรู้สารสนเทศ
ตอบ ง.ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ประเมิน และใช้งานสารสนเทศ
2.จากกระบวนการของการรู้สารสนเทศ ทั้ง 5 ประการ ประการไหนสำคัญที่สุด
ตอบ ง.ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ตอบ ง.ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
ตอบ ค.ชอบใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกมส์
ตอบ ค.ชอบใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกมส์
4.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
ตอบ 4.ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต
ตอบ 4.ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต
5.ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
ตอบ ง.4-3-5-1-2
ตอบ ง.4-3-5-1-2
แบบฝึกหัดบททที่2
1.ให้นิสิตหารายชื่อเว็ปไซด์หรือเทคโนโลยีที่ให้บริการต่างๆตามหัวข้อเหล่านี้มาอย่างละ3รายการ
1.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในสาขาการศึกษา
1)คอมพิวเตอร์ 2)การศึกษาออนไลน์ 3)ห้องสุมด
1.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน
ธุรกิจ =ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (accounting information system)
พาณิชย์ = ATM เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน
สำนักงาน =งานจัดเตรียมเอกสาร เช่น การใช้เครื่องประมวลผลคำหรือเครื่องประมวลผลเนื้อหา
1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน
- การบริการโทรศัพท์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ วิทยุ
- ด้านมัลติมีเดีย ด้านกราฟฟิก โปรแกรมต่าง ๆ ระบบวิเคราะห์ภาพ เสียง
- ดาวเทียม และโครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) เป็นต้น
1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
-อุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์ ได้ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ รถยนต์ ปฏิบัติการผลิต เช่น การพ่นสี
- ใช้หุ่นยนต์ทำงานแทนคนสำหรับงานที่เสี่ยงอันตราย เช่น ใช้หุ่นยนต์พ่นสี เชื่อม ตัดส่วนโค้งต่างๆของตัวรถยนต์
- อุตสาหกรรมการพิมพ์ เช่นระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ในการจัดเตรียมต้นฉบับบรรณาธิกรณ์ ตีพิมพ์ จัดเก็บ และจัดจำหน่าย
1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทางการแพทย์
- ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็นระบบที่ช่วยด้าน Patient record หรือเวชระเบียนระบบข้อมูลยา
- ระบบสาธารณะสุข ใช้ในการดูแลป้องกันโรคระบาดในท้องถิ่น เช่น เมื่อมีผู้ป่วยอหิวาตกโรคในหมู่บ้าน แพทย์อาจตรวจค้นได้
ว่าผู้ป่วยมาจากตำบลอะไร มีประชากรกี่คน เป็นชาย หญิง เด็กเท่าไรเพื่อที่จะได้จัดหาวัคซีนไปฉีดป้องกันได้ทันที
- ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) เป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค หลักการที่ใช้คือ เก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ให้รายละเอียดแล้วใช้หลักปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence : AL มาช่วยวิเคราะห์ เป็นแนวความคิดทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เหมือนคน
1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
- เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางทหารมีการใช้เทคโนโลยี มีระบบป้องกันภัย
- เทคโนโลยีสารสนเทศในวงการตำรวจ นำเทคโนโลยีสารเทศเข้ามาใช้งานมากมาย หลากหลายรูปแบบหลายระบบ เพื่อช่วย
ในการสืบสวน
- ใช้เครื่องมือการตรวจวัดแอลกอฮอล์
1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
- ใช้ในการประดิษฐ์นวัตกรรมใหม่ ๆ เช่น วิศวกรรมยานยนต์ก็จะใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างแบบจำลองรถยนต์รุ่นต่าง ๆ
1.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพด้านเกษตรกรรม
- ใช้ไอทีเป็นสื่อ(Media)ในการสื่อสารเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตรนอกเหนือจากสื่ออื่น ๆ
- จัดทำโปรแกรมเพื่ออำนวยประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
- ประยุกต์ใช้ไอทีในการสืบค้นข้อมูลข่าวสารความรู้ด้านการเกษตรจากแหล่งความรู้
1.9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่างๆ
- http://www.healthyability.com/new_version5/ เว็บสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการไทย
- http://www.ddc.go.th/ เว็บศูนย์พัฒนาอาชีพผู้พิการ
- http://www.blind.or.th/ เว็บมูลนิธิช่วยคนตาบอลแห่งประเทศไทย
2.มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้กับท่าน มีอะไรบ้าง บอกมาอย่างน้อย3อย่าง
-การศึกษาออนไลน์
-ระบบลงทะเบียนเรียน
-สำนักวิทยบริการ
3.จากข้อ2จงวิเคราะห์ว่าท่านจะนำเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้อย่างไร
1.)การศึกษาออนไลน์ได้เข้าเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ผ่านเคือค่ายอินเตอร์เน็ต เรียนจากที่ใดก็ได้ตามเวลาที่สะดวก
2.)ระบบลงทะเบียนเรียน ใช้ในการลงทะเบียน เช็คตารางเรียน ตารางสอบ
3.)สำนักวิทยบริการ ใช้เครื่องที่ให้บริการยืม-คืนหนังสือ สถานที่อ่านหนังสือ และสืบค้นข้อมูลออนไลน์ต่างๆ
1.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในสาขาการศึกษา
1)คอมพิวเตอร์ 2)การศึกษาออนไลน์ 3)ห้องสุมด
1.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน
ธุรกิจ =ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (accounting information system)
พาณิชย์ = ATM เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน
สำนักงาน =งานจัดเตรียมเอกสาร เช่น การใช้เครื่องประมวลผลคำหรือเครื่องประมวลผลเนื้อหา
1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน
- การบริการโทรศัพท์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ วิทยุ
- ด้านมัลติมีเดีย ด้านกราฟฟิก โปรแกรมต่าง ๆ ระบบวิเคราะห์ภาพ เสียง
- ดาวเทียม และโครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) เป็นต้น
1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
-อุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์ ได้ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ รถยนต์ ปฏิบัติการผลิต เช่น การพ่นสี
- ใช้หุ่นยนต์ทำงานแทนคนสำหรับงานที่เสี่ยงอันตราย เช่น ใช้หุ่นยนต์พ่นสี เชื่อม ตัดส่วนโค้งต่างๆของตัวรถยนต์
- อุตสาหกรรมการพิมพ์ เช่นระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ในการจัดเตรียมต้นฉบับบรรณาธิกรณ์ ตีพิมพ์ จัดเก็บ และจัดจำหน่าย
1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทางการแพทย์
- ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็นระบบที่ช่วยด้าน Patient record หรือเวชระเบียนระบบข้อมูลยา
- ระบบสาธารณะสุข ใช้ในการดูแลป้องกันโรคระบาดในท้องถิ่น เช่น เมื่อมีผู้ป่วยอหิวาตกโรคในหมู่บ้าน แพทย์อาจตรวจค้นได้
ว่าผู้ป่วยมาจากตำบลอะไร มีประชากรกี่คน เป็นชาย หญิง เด็กเท่าไรเพื่อที่จะได้จัดหาวัคซีนไปฉีดป้องกันได้ทันที
- ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) เป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค หลักการที่ใช้คือ เก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ให้รายละเอียดแล้วใช้หลักปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence : AL มาช่วยวิเคราะห์ เป็นแนวความคิดทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เหมือนคน
1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
- เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางทหารมีการใช้เทคโนโลยี มีระบบป้องกันภัย
- เทคโนโลยีสารสนเทศในวงการตำรวจ นำเทคโนโลยีสารเทศเข้ามาใช้งานมากมาย หลากหลายรูปแบบหลายระบบ เพื่อช่วย
ในการสืบสวน
- ใช้เครื่องมือการตรวจวัดแอลกอฮอล์
1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
- ใช้ในการประดิษฐ์นวัตกรรมใหม่ ๆ เช่น วิศวกรรมยานยนต์ก็จะใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างแบบจำลองรถยนต์รุ่นต่าง ๆ
1.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพด้านเกษตรกรรม
- ใช้ไอทีเป็นสื่อ(Media)ในการสื่อสารเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตรนอกเหนือจากสื่ออื่น ๆ
- จัดทำโปรแกรมเพื่ออำนวยประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
- ประยุกต์ใช้ไอทีในการสืบค้นข้อมูลข่าวสารความรู้ด้านการเกษตรจากแหล่งความรู้
1.9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่างๆ
- http://www.healthyability.com/new_version5/ เว็บสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการไทย
- http://www.ddc.go.th/ เว็บศูนย์พัฒนาอาชีพผู้พิการ
- http://www.blind.or.th/ เว็บมูลนิธิช่วยคนตาบอลแห่งประเทศไทย
2.มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้กับท่าน มีอะไรบ้าง บอกมาอย่างน้อย3อย่าง
-การศึกษาออนไลน์
-ระบบลงทะเบียนเรียน
-สำนักวิทยบริการ
3.จากข้อ2จงวิเคราะห์ว่าท่านจะนำเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้อย่างไร
1.)การศึกษาออนไลน์ได้เข้าเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ผ่านเคือค่ายอินเตอร์เน็ต เรียนจากที่ใดก็ได้ตามเวลาที่สะดวก
2.)ระบบลงทะเบียนเรียน ใช้ในการลงทะเบียน เช็คตารางเรียน ตารางสอบ
3.)สำนักวิทยบริการ ใช้เครื่องที่ให้บริการยืม-คืนหนังสือ สถานที่อ่านหนังสือ และสืบค้นข้อมูลออนไลน์ต่างๆ
แบบฝึกหัดบทที่1
แบบฝึกหัด
บทที่ 1 (กิจกรรม 1) กลุ่มเรียนที่ 1รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ-สกุล นางสาววิภารัตน์ แนบชิด รหัส 56010127537
จงเติมในช่องว่างว่าข้อใดเป็นข้อมูลหรือสารสนเทศ
1. ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และต้องถูกต้องแม่นยำ ครบถ้วน ขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจนั่นเอง ข้อมูลจึงหมายถึงตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปของสิ่งของที่เราสนใจ
2.ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติต่าง ๆ ที่ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลให้ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก ข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุดกำเนิดของข้อมูลนั้น ๆ
ยกตัวอย่างประกอบ เช่น วารสาร รายงานการวิจัย รายงานการประชุมและสัมมนา วิชาการ สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐานต่างๆ ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์และการถ่ายทอดทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3.ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจจะมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ ผู้ใช้ข้อมูลไม่จำเป็นต้องไปสำรวจเอง
ยกตัวอย่างประกอบ จากข้อมูลสถิติต่างๆ ที่หน่วยงานรัฐบาลทำไว้แล้ว เช่น สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการส่งสินค้าออก สถิติการนำสินค้าเข้า ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เพื่อให้ใช้งานได้ หรือนำเอาไปประมวลผลต่อ
4.สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารสนเทศที่เป็นความรู้ที่เกิดจากวิทยุ โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ รอบตัวเราซึ่งอาจมาจาก วิทยุ โทรทัศน์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ดาวเทียม โทรศัพท์ เครื่องจักร ที่เกี่ยวกับสารสนเทศได้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหม่ เช่น การฝาก ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM การจองตั๋วเครื่องบิน การลงทะเบียน ฯลฯ
5.จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ
5.1 จำแนกตามแหล่งสารสนเทศคือ การจัดแบ่งตามการรวบรวมหรือจัดทำสารสนเทศ ออกเป็น 3 แหล่งดังนี้
แหล่งปฐมภูมิหมายถึง สารสนเทศที่ได้จากต้นแหล่งโดยตรง เป็นสารสนเทศเชิงวิชาการ มีการเผยแพร่ผลการศึกษาค้นคว้า วิจัย รายงาน การค้นพบทฤษฎีใหม่ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเพิ่มเติม มีข้อมูลเหตุผลที่เชื่อถือได้
แหล่งทุติยภูมิหมายถึง สารสนเทศที่ได้รวบรวม เรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศปฐมภูมิ อาจทำในรูปของการสรุป ย่อเรื่อง จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนี สาระสังเขป เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว เข้าใจง่าย ได้แก่ สื่ออ้างอิง วารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมทั้งหนังสือตำราที่รวบรมเนื้อหาวิชาการในการเรียนการสอน รวมทั้งสารานุกรม พจนานุกรม รายงานสถิติต่างๆ ดรรชนีวารสารและสาระสังเขป เป็นต้น
แหล่งตติยภูมิหมายถึง สารสนเทศที่รวบรวมขึ้นเพื่อใช้ในการค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ ไม่ให้ความรู้สาระเนื้อหารโดยตรง แต่ใช้ประโยชน์เพื่อการค้นหาเฉพาะสาขาวิชาต่างๆได้ ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม ปัจจุบันมีการจัดทำเป็นบันทึกข้อมูลไว้ในสื่อคอมพิวเตอร์ออกเผยแพร่ ในรูปของ CD-ROM ฐานข้อมูลออนไลน์
5.2 จำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ คือการจำแนกสารสนเทศตามชนิดของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล หรือตามเทคโนโลยีที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ได้แก่ กระดาษ วัสดุย่อส่วน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อแสง ได้แก่
กระดาษ เป็นการเก็บข้อมูลสารสนเทศที่ใช้บันทึกได้ง่ายที่สุด ทั้งการขีดเขียน การพิมพ์ นิยมใช้มาจนถึงปัจจุบัน
วัสดุย่อส่วน คือสื่อทีถูกสำเนาย่อส่วนลงบนแผ่นฟิล์มชนิดต่างๆ ทั้งเป็นม้วนหรือเป็นแผ่น เรียงลำดับเนื้อหาตามต้นฉบับ เช่น เอกสารจดหมายเหตุ หนังสือพิมพ์ เอกสารสำคัญ แบบฟอร์ม บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ เป็นต้น
สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อแม่เหล็ก เป็นวัสดุสังเคราะห์เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก สามารถบันทึกและแก้ไขข้อมูลได้สะดวกทั้งข้อมูลที่เป็น อะนาล็อก Analog และดิจิตอล Digital เช่น เทปบันทึกเสียง เทปวีดิทัศน์ ฮาร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์ ปัจจุบันสามารถแก้ไขปรับปรุงได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
สื่อแสงหรือสื่อออปติก เป็นสื่อที่ได้รับการบันทึก และอ่านข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ เป็นข้อมูลดิจิตอลอ่านโดยทั่วไปจะอ่านได้อย่างเดียว เช่น CD-ROM, VCD, DVD ซึ่งมีความจุมากเป็นพิเศษกว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อแม่เหล็ก
6.ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงคืออะไร
ตอบ ข้อมูล
7.ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลเป็น
ตอบ สารสนเทศ
8.ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคนเป็น
ตอบ ข้อมูลปฐมภูมิ
9.ผลของการลงทะเบียนเป็น
ตอบ ข้อมูลสารสนเทศ
10.กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน Section วันอังคารเป็น
ตอบ ข้อมูลทุติยภูมิ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)