วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แบบฝึกหัดบทที่4

จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. ให้นิสิตยกตัวอย่าง อุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามหัวข้อต่อไปนี้ อย่างน้อยหัวข้อละ 3 ชนิด

    1.1 การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล
          -  แผ่นซีดี
          -  ฮาร์ดดิสท์
          -  USB ไดร์ฟ
    1.2 การแสดงผล
          -  จอภาพ คอมพิวเตอร์
          -  จอโปรเจ็กเตอร์
          -  เครื่องพิมพ์
    1.3 การประมวลผล
          -  ซอฟต์แวร์
          -  ฮาร์ดแวร์
          -  OS
    1.4 การสื่อสารและเครือข่าย
          -  อินเตอร์เน็ต
          -  การประชุมผ่านทางจอภาพ
          -  ห้องสมุดอีเล็กทรอนิกส์

2. ให้นิสิต นำตัวเลขในช่องขวา มาเติมหน้าข้อความในช่องซ้าย ที่มีความสัมพันธ์กัน

         ซอฟต์แวร์ประยุกต์
          - 8 (โปรแกรมระบบห้องสมุด จัดเป็ฯซอฟต์แวร์ประเภท..)

         Information Technology 
        - 3 ( เทคโนโลยีต่างๆ ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการเกี่ยวกับ   สารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง และความรวดเร็วในการนำไปใช้)

         คอมพิวเตอร์ในยุคประมวลผลข้อมูล
       - 1 (ส่วนใหญ่ใช้ทำหน้าที่คำนวณ ประมวลผลข้อมูล)

         เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย 
      - 6 (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  เทคโนโลยี การสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวข้อง)
       
        ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่นต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
      - 10 (ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ)

        ซอฟต์แวร์ระบบ
       - 7 (โปรแกรมที่ทำหน้าที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์)

        การนำเสนอบทเรียนในรูปแบบมัลติมีเดีย ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ตามระดับความสามารถ
      - 9 (CAI)

       EDI
      - 5 (การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย)

       การสื่อสารโทรคมนาคม
     - 4 (มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน คือ Sender-Medium และ Decoder

       บริการชำระภาษีออนไลน์

      - 2 (e-Revenue)

วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แบบฝึกหัดบทที่3

คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

1.ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการรู้สารสนเทศ
ตอบ ง.ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ประเมิน และใช้งานสารสนเทศ
2.จากกระบวนการของการรู้สารสนเทศ ทั้ง 5 ประการ ประการไหนสำคัญที่สุด
ตอบ ง.ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
ตอบ ค.ชอบใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกมส์
4.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
ตอบ 4.ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต
5.ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
ตอบ ง.4-3-5-1-2

แบบฝึกหัดบททที่2


1.ให้นิสิตหารายชื่อเว็ปไซด์หรือเทคโนโลยีที่ให้บริการต่างๆตามหัวข้อเหล่านี้มาอย่างละ3รายการ

   1.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในสาขาการศึกษา

         1)คอมพิวเตอร์ 2)การศึกษาออนไลน์ 3)ห้องสุมด

   1.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน

         ธุรกิจ       =ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (accounting information system) 

         พาณิชย์   = ATM เพื่ออำนวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน

         สำนักงาน =งานจัดเตรียมเอกสาร เช่น การใช้เครื่องประมวลผลคำหรือเครื่องประมวลผลเนื้อหา

   1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน

         - การบริการโทรศัพท์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ วิทยุ 

         - ด้านมัลติมีเดีย ด้านกราฟฟิก โปรแกรมต่าง ๆ ระบบวิเคราะห์ภาพ เสียง

         - ดาวเทียม และโครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) เป็นต้น

   1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม

         -อุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์ ได้ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ รถยนต์ ปฏิบัติการผลิต เช่น การพ่นสี 

         - ใช้หุ่นยนต์ทำงานแทนคนสำหรับงานที่เสี่ยงอันตราย เช่น ใช้หุ่นยนต์พ่นสี เชื่อม ตัดส่วนโค้งต่างๆของตัวรถยนต์

         - อุตสาหกรรมการพิมพ์ เช่นระบบการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ในการจัดเตรียมต้นฉบับบรรณาธิกรณ์ ตีพิมพ์ จัดเก็บ และจัดจำหน่าย

   1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทางการแพทย์

         - ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็นระบบที่ช่วยด้าน Patient record หรือเวชระเบียนระบบข้อมูลยา

          - ระบบสาธารณะสุข ใช้ในการดูแลป้องกันโรคระบาดในท้องถิ่น เช่น เมื่อมีผู้ป่วยอหิวาตกโรคในหมู่บ้าน แพทย์อาจตรวจค้นได้

 ว่าผู้ป่วยมาจากตำบลอะไร มีประชากรกี่คน เป็นชาย หญิง เด็กเท่าไรเพื่อที่จะได้จัดหาวัคซีนไปฉีดป้องกันได้ทันที

         - ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) เป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค หลักการที่ใช้คือ เก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ให้รายละเอียดแล้วใช้หลักปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence : AL มาช่วยวิเคราะห์ เป็นแนวความคิดทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เหมือนคน

   1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ

         - เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางทหารมีการใช้เทคโนโลยี มีระบบป้องกันภัย

         - เทคโนโลยีสารสนเทศในวงการตำรวจ นำเทคโนโลยีสารเทศเข้ามาใช้งานมากมาย หลากหลายรูปแบบหลายระบบ เพื่อช่วย

ในการสืบสวน

         - ใช้เครื่องมือการตรวจวัดแอลกอฮอล์

   1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพวิศวกรรม

         - ใช้ในการประดิษฐ์นวัตกรรมใหม่ ๆ เช่น วิศวกรรมยานยนต์ก็จะใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างแบบจำลองรถยนต์รุ่นต่าง ๆ

   1.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในวิชาชีพด้านเกษตรกรรม

         - ใช้ไอทีเป็นสื่อ(Media)ในการสื่อสารเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตรนอกเหนือจากสื่ออื่น ๆ

         - จัดทำโปรแกรมเพื่ออำนวยประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

         - ประยุกต์ใช้ไอทีในการสืบค้นข้อมูลข่าวสารความรู้ด้านการเกษตรจากแหล่งความรู้

   1.9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสรเทศในที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่างๆ

         - http://www.healthyability.com/new_version5/ เว็บสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการไทย

         - http://www.ddc.go.th/ เว็บศูนย์พัฒนาอาชีพผู้พิการ

         - http://www.blind.or.th/ เว็บมูลนิธิช่วยคนตาบอลแห่งประเทศไทย

2.มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้กับท่าน มีอะไรบ้าง บอกมาอย่างน้อย3อย่าง

        -การศึกษาออนไลน์

        -ระบบลงทะเบียนเรียน

        -สำนักวิทยบริการ

3.จากข้อ2จงวิเคราะห์ว่าท่านจะนำเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้อย่างไร

      1.)การศึกษาออนไลน์ได้เข้าเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ผ่านเคือค่ายอินเตอร์เน็ต เรียนจากที่ใดก็ได้ตามเวลาที่สะดวก

      2.)ระบบลงทะเบียนเรียน ใช้ในการลงทะเบียน เช็คตารางเรียน ตารางสอบ

      3.)สำนักวิทยบริการ ใช้เครื่องที่ให้บริการยืม-คืนหนังสือ สถานที่อ่านหนังสือ และสืบค้นข้อมูลออนไลน์ต่างๆ

แบบฝึกหัดบทที่1

แบบฝึกหัด

         บทที่ 1 (กิจกรรม 1)                                                                                           กลุ่มเรียนที่  1
         รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน                                      รหัสวิชา  0026  008
         ชื่อ-สกุล   นางสาววิภารัตน์  แนบชิด          รหัส  56010127537


      จงเติมในช่องว่างว่าข้อใดเป็นข้อมูลหรือสารสนเทศ


  1. ข้อมูล หมายถึง  ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ  ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง  และต้องถูกต้องแม่นยำ ครบถ้วน ขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจนั่นเอง ข้อมูลจึงหมายถึงตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปของสิ่งของที่เราสนใจ

  2.ข้อมูลปฐมภูมิ  คือ   ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติต่าง ๆ ที่ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลให้ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก ข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุดกำเนิดของข้อมูลนั้น ๆ
 ยกตัวอย่างประกอบ  เช่น  วารสาร  รายงานการวิจัย  รายงานการประชุมและสัมมนา   วิชาการ           สิทธิบัตร  เอกสารมาตรฐานต่างๆ ต้นฉบับตัวเขียน   จดหมายเหตุ  วิทยานิพนธ์และการถ่ายทอดทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์  เช่น  วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น  
  
   3.ข้อมูลทุติยภูมิ  คือ  ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจจะมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ ผู้ใช้ข้อมูลไม่จำเป็นต้องไปสำรวจเอง 
ยกตัวอย่างประกอบ   จากข้อมูลสถิติต่างๆ ที่หน่วยงานรัฐบาลทำไว้แล้ว เช่น สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการส่งสินค้าออก สถิติการนำสินค้าเข้า ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เพื่อให้ใช้งานได้ หรือนำเอาไปประมวลผลต่อ

   4.สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้     เช่น สารสนเทศที่เป็นความรู้ที่เกิดจากวิทยุ โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ รอบตัวเราซึ่งอาจมาจาก วิทยุ โทรทัศน์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ดาวเทียม โทรศัพท์ เครื่องจักร ที่เกี่ยวกับสารสนเทศได้ เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหม่ เช่น การฝาก ถอนเงินผ่านเครื่อง ATM การจองตั๋วเครื่องบิน การลงทะเบียน ฯลฯ

    5.จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ   

                 5.1  จำแนกตามแหล่งสารสนเทศคือ  การจัดแบ่งตามการรวบรวมหรือจัดทำสารสนเทศ ออกเป็น 3 แหล่งดังนี้

                        แหล่งปฐมภูมิหมายถึง สารสนเทศที่ได้จากต้นแหล่งโดยตรง เป็นสารสนเทศเชิงวิชาการ มีการเผยแพร่ผลการศึกษาค้นคว้า วิจัย รายงาน การค้นพบทฤษฎีใหม่ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเพิ่มเติม มีข้อมูลเหตุผลที่เชื่อถือได้

                        แหล่งทุติยภูมิหมายถึง สารสนเทศที่ได้รวบรวม เรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศปฐมภูมิ อาจทำในรูปของการสรุป ย่อเรื่อง จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนี สาระสังเขป เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว เข้าใจง่าย ได้แก่ สื่ออ้างอิง วารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมทั้งหนังสือตำราที่รวบรมเนื้อหาวิชาการในการเรียนการสอน รวมทั้งสารานุกรม พจนานุกรม รายงานสถิติต่างๆ ดรรชนีวารสารและสาระสังเขป เป็นต้น

                        แหล่งตติยภูมิหมายถึง สารสนเทศที่รวบรวมขึ้นเพื่อใช้ในการค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ ไม่ให้ความรู้สาระเนื้อหารโดยตรง แต่ใช้ประโยชน์เพื่อการค้นหาเฉพาะสาขาวิชาต่างๆได้ ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม ปัจจุบันมีการจัดทำเป็นบันทึกข้อมูลไว้ในสื่อคอมพิวเตอร์ออกเผยแพร่ ในรูปของ CD-ROM ฐานข้อมูลออนไลน์

  5.2 จำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ คือการจำแนกสารสนเทศตามชนิดของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล หรือตามเทคโนโลยีที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ได้แก่ กระดาษ วัสดุย่อส่วน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อแสง ได้แก่

                        กระดาษ เป็นการเก็บข้อมูลสารสนเทศที่ใช้บันทึกได้ง่ายที่สุด ทั้งการขีดเขียน การพิมพ์ นิยมใช้มาจนถึงปัจจุบัน

                        วัสดุย่อส่วน คือสื่อทีถูกสำเนาย่อส่วนลงบนแผ่นฟิล์มชนิดต่างๆ ทั้งเป็นม้วนหรือเป็นแผ่น เรียงลำดับเนื้อหาตามต้นฉบับ เช่น เอกสารจดหมายเหตุ หนังสือพิมพ์ เอกสารสำคัญ แบบฟอร์ม บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ เป็นต้น

                        สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อแม่เหล็ก เป็นวัสดุสังเคราะห์เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก สามารถบันทึกและแก้ไขข้อมูลได้สะดวกทั้งข้อมูลที่เป็น อะนาล็อก Analog และดิจิตอล Digital เช่น เทปบันทึกเสียง เทปวีดิทัศน์ ฮาร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์ ปัจจุบันสามารถแก้ไขปรับปรุงได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น

                        สื่อแสงหรือสื่อออปติก เป็นสื่อที่ได้รับการบันทึก และอ่านข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ เป็นข้อมูลดิจิตอลอ่านโดยทั่วไปจะอ่านได้อย่างเดียว เช่น CD-ROM, VCD, DVD ซึ่งมีความจุมากเป็นพิเศษกว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อแม่เหล็ก


    6.ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงคืออะไร  
        ตอบ  ข้อมูล

    7.ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลเป็น
        ตอบ  สารสนเทศ
  
    8.ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคนเป็น
        ตอบ  ข้อมูลปฐมภูมิ

    9.ผลของการลงทะเบียนเป็น
        ตอบ  ข้อมูลสารสนเทศ

    10.กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน  Section วันอังคารเป็น
       ตอบ  ข้อมูลทุติยภูมิ

วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ภูผาเทิบมุกดาหาร

                                                     

                                 ภูผาเทิบมุกดาหาร




ลักษณะภูมิประเทศ 
สภาพภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูงชันหลายเทือกเขาติดต่อกัน คือ ภูนางหงษ์ ภูถ้ำพระ ภูหลังเส ภูหินเทิบ ภูหมากยาง ภูโป่ง ภูมโน มียอดเขาภูจอมศรีเป็นยอดเขาที่สูงที่สุด คือ สูงประมาณ 420 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีสภาพเป็นภูเขาหินตลอดทั้งมีหินกว้างยาวและหินทับซ้อนกันในรูปต่างๆ หน้าผาสูงชัน และดินส่วนใหญ่เป็นดินปนทราย เป็นแหล่งกำเนิดของแม่น้ำหลายสาย เช่น ห้วยตาเหลือก ห้วยสิง ห้วยสะพาย ห้วยเรือ ห้วยบอน ห้วยช้างชน ห้วยไค้ และห้วยมะเล 



ลักษณะภูมิอากาศ
อุทยานแห่งชาติมีสภาพภูมิอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน - เดือนพฤศจิกายน ฤดูหนาว ระหว่างเดือนธันวาคม - เดือนมกราคม ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – เดือนพฤษภาคม





                                                สถานที่สำคัญ                                         

                 สถานที่สำคัญและน่าเที่ยวชมในภายในอุทยาน                                  

                 แห่งชาติมุกดาหาร 6 จุดเด่น ได้แก่
             1. กลุ่มหินเทิบ 
             2. ลานมุจลินท์ 
             3.น้ำตกวังเดือนห้า
             4. ภูถ้ำพระ
             5.ผามะนาว
             6.ถ้ำฝ่ามือแดง 

                                                  

                                                            แหล่งอ้างอิง



สำนักพิมพ์สารคดี(ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ  จำกัด) พิมพ์ครั้งที่1 จำนวนพิมพ์100,000 เล่ม